ในชวีติ การท างานของเรานัน้ มักจะมปีัญหานอ้ ยใหญ่มาใหข้ บคิดกันเสมอ ปัญหาเล็ก ๆ คงไม่เท่าไหร่ แต่ถ ้าปัญหาใหญ่ก็ชวนให้หนักทั้งใจและทั้ง
ความคดิ ทจี่ ะตอ้งหาวธิจีัดการรับมอืใหไ้ด ้ และบอ่ ยครัง้เชน่ กันทปี่ ัญหาทอี่ าจจะเป็นเรอื่ งเล็กนอ้ ย สง่ ผลใหมี้ อารมณ์โกรธพลุ่งพล่านจนมไีม่นอ้ ยเชน่ กัน
ทสี่ ง่ ผลเสยีตอ่ ความสัมพันธก์ ับเพอนื่ ร่วมงานหรือเจ้านายที่บังคับบัญชา
มองจากมุมสรีระวิทยาและจิตวิทยา เวลาที่คนเราโกรธนั้น ปฏิกิริยาของร่างกายพทเี่ ราจะพบเห็นไดก้็คอื หัวใจจะสูบฉีดเลอื ดเพอื่ น าเอาออกซเิจนไป
เลยี้ งสมองส่วนทเี่ รยี กว่า “Amygdala” ซงึ่ นับไดว้่าเป็นศูนยอ์ านวยการอารมณ์แบบเถื่อน ๆ ดิบ ๆ ของมนุษย์ (แน่นอนครับ สมองของเรามสี ่วนที่
ควบคุมอารมณ์สุนทรีย์ อารมณ์รักใคร่และพงึพอใจเชงิบวกดว้ยเชน่ กัน) อารมณ์แบบดิบ ๆ ที่ว่านี้คือความกลัว ความโกรธ หรือแม ้แต่การแสดงออกทาง
เพศ ก็จัดวา่ เป็นอารมณ์แบบดบิ ทสี่ มองสว่ นนดี้ แู ลบัญชาการดว้ยครับ
พอเลือดไปหล่อเลยี้ งสมองส่วนนี้มาก ก็เท่ากับเลือดจะไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงสมองส่วนหนา้ทเี่ ป็นศูนย์บัญชาการควบคุมการคิดอย่างมีเหตุผล การ
ไตร่ตรองสถานการณ์ วิจารณญาณกับปรากฎการณ์น้อยลง ก็เท่ากับสมองสูญเสยี การควบคุมทางอารมณ์นี้ให้กับ “Amygdala” เวลาที่คนเราโกรธนั้น
นักวิชาการเค ้าจึงเรียกกันติดปากว่า “Amygdala Hijack” ซงึ่ ก็คอื การปลน้ ความคดิไตร่ตรอง การใชเ้หตุผลของสมองไปนั่นเอง ก็บังเอิญที่เวลาปล้น
(hijack) การควบคุมไปจากสมองส่วนหนา้นี้ ใชเ้วลาสัน้ มากแทบจะไม่ถึงครึ่งวินาที ทัง้ ยังใชเ้วลาอกี เพยีงไม่เกินสองวนิ าทใีนการสั่งการใหร้่างกาย
แสดงปฏิกิริยาร่างกายออกมา เวลาคนเราโกรธนั้น เราจึงเห็นการตอบโต ้แบบท าลายข ้าวของ ด่าทอกันเมามัน หรือกระทั่งท าร ้ายร่างกายและรุนแรง
หน่อยคือประทุษร ้ายต่อชวีติ ของคนอนื่ โดยอารมณ์ชวั่ วบู ไอท้ วี่ า่ ชวั่ วบู นลี่ ะ่ ครับคอื ค าสั่งของมองสว่ น Amygdala
เทคนิคง่าย ๆ ที่ผู้รู้หลายท่านแนะน าเอาไว้ และผมเองก็เคยทดสอบแลว้วา่ ไดผ้ ลไมใ่ ชเ่ รอื่ งยากวนุ่ วายอะไรเลยครับ แตค่ อื การสดู ลมหายใจเขา้ลกึ ๆ สัก
สองสามครัง้ หลับตาลงแลว้นับหนงึ่ ถงึแปดใหไ้ด ้ ย ้าครับนับหงึ่ ถงึแปด ทตี่ อ้งแปดไม่เป็นสบิ หรอื รอ้ ยนัน้ ก็เพราะผูรู้ท้ ่านทเี่ ขยี นหนังสอืเรอื่ ง “How to
Get the Buddahood” บอกวา่ คนเรานัน้ จะใชเ้วลาเฉลี่ยเพียงราว ๆ แปดวนิาท ีในการดงึอารมณ์บดู กลับสสู่ ภาพเดมิ
แล้วท าไมต ้องสูดลมหายใจล่ะ หลับตาอย่างเดียวไม่ได ้เหรอ?
เอาเป็นว่า การสูดลมหายใจนัน้ ก๋เท่ากับการดงึเอาออกซเิจนเขา้สู่ร่างกายและไหลเวยี นไปยังสมองส่วนหนา้ใหม้ากขนึ้ เหมอื นกับการเตมิ พลังเขา้ไป
ใหก้ับสมองสว่ นทใี่ ชเ้หตใุ ชผ้ ล การไตรต่ รองและสติปัญญา ส่วนการแนะน าใหห้ ลับตานัน้ ก็เพอื่ จะไดไ้ม่เห็นสงิ่ เรา้สงิ่ กระตุน้ ใหเ้กดิ อารมณ์โกรธนั่นเอง
ครับ ง่าย ๆ เลยนะเนี่ย
เวลาทคี่ นเราโกรธนัน้ สตมิักจะหลดุ ลอย ปัญญาก็จะพรอ่ งลงไปตามสว่ น การระงับอารมณ์ด้วยการหลับตานั่งนับเลขในใจ ก็ยังดูกว่าไปนั่งนับเข็มที่หมอ
เบ็บแผลที่ศรีษะหรือร่างกายเพราะไปทะเลาะกับชาวบ้านเขา และยังดีกว่าปลอ่ ยใหอ้ารมณ์ชวั่ วูบเดนิจูงมอืเราเขา้คกุ เขา้ตะรางแลว้มานั่งเสยีใจภายหลัง
เป็นไหน ๆ นอกเหนือจากนี้ หากเรารู้จักฝึกครองสติให้อยู่กับลมหายใจของตัวเอง ถึงขั้นที่เรียกว่ามีสมาธิแล้ว ก็จะเกิดปัญญหาแก ้ไขสถานการณ์หนัก
เบาที่รุมเร ้าเข ้ามาในชวีติ อยา่ งไดผ้ ล เรื่องดีดีแบบนี้ต ้องทดลองครับ
อ discover this.ชชั วาล อรวงศศ์ ภุ ทตั
Professional Human Resource (PHR)
วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาองค์กร