เรื่องก่อนหน้า ผมได้พูดถึงคุณค่าความสำคัญของการทำงานแบบโฟกัส และการทำงานทีละเรื่องอันจะช่วยใหท่านทำงานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
มากกว่าเดิมไปแล้ว เชื่อว่าท่านผู้อ่านจะเห็นพ้องด้วยกับที่นำเสนอไป โดยอยากชวนใหท่านผู้อ่านใช้เวลาสักนิดกับการไตร่ตรองถึงคุณค่าของการ
ทำงานอย่างโฟกัส เผื่อจะได ้มุมมองของคุณค่าการทำงานอย่างโฟกัสมากกว่าที่ผมกล่าวไป
คราวนี้ หากท่านผู้อ่านอยากเปลี่ยนแปลงการทำงานการที่จะะทำงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าที่เป็ นอยู่แล้วล่าสุดผมก็ขออ้างอิงข้อคิดที่น่าสนใจของ
Leo Babauta จากหนังสือเรื่อง “The Power of Less” ตีพิมพ์ตั้งแต่ปี 2009 โน่น ซึ่งเสนอให้เราโฟกัสกับเรื่อง 4 อย่างเพื่อให้งานที่ทำมี
ประสิทธิภาพมากขึ้นดังต่อไปนี้
คำคำนี้บ้างก็เรียกในภาษาไทยว่า “มุ่งเน้น” บ้างก็เรียกว่า “จดจ่อ” เอาเป็นวา่ ผมขอทับศัพท์ไปเสียเลย ยังพอเข ้าใจกันได้อยู่
การทำงานอย่างโฟกัสนั้น ช่วยให้งานทำงานได้อย่างมีประสิทธภาพด้วยเหตุหลายประการกล่าวคือ
โฟกัสกับเป้าหมายงาน : เป็นความจริงที่หากเราพยายามใจจดใจจ่อกับเป้าหมายอันใดอันหนึ่ง และทำมันจนเคยชินติดเป็นนิสัยแล้วเราก็จะบรรลุ
เป้าหมายในสิ่งที่จดจ่อนั้นได้ ดุ หรือหากจะต้องฟันฝ่าอปุ สรรคแล้วสิ่ง หนัก ๆ ก็จะคลี่คลายลงโดยไม่ต้องพึ่งไสยศาสตร์เข ้ามาเกี่ยวข ้อง เพราะ
การโฟกัสจะช่วยให้เราเรียบเรียงเรื่องราว และทำทีละเรื่องให้เสร็จ พร้อมกับไปต่อภาพใหญ่ให้สำเร็จลงไดน้ั่นเอง
โฟกัสกับงานตรงหน้า : ผมคิดว่าคนทำงานแทบจะทุกคนล้วนอยากทำงานออกมาให้ดี ให้ราบรื่นไหลปรื๊ด (flow) ไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ให้ได ้หาก
ท่านเคยโฟกัสอยู่กับงานจนลืมเวลาเลิกงาน ยิ่งทำยิ่งเพลิดเพลิน ท่านย่อมจะจำได ้ถึงความรู้สึก happy กับงานที่ทำตรงหน้า อารมณ์แบบนี้เองที่มักจะ
เกิดจากการที่เราโฟกัสกับงานตรงหน้า
หากอยากให้สมองโปร่งและโล่งใจแล้ว จงกำจัดทุกอย่างที่ชวนให้ไขว้เขวออกไปจากงานตรงหน้าให้หมด และนึกเสมอว่าสิ่งที่ควรทำกับงานของเรามี
อย่างเดียวเท่านั้นคือ “สนใจแต่ในสิ่ง (งาน) ที่อยู่ตรงหน้า” ครับ
โฟกัสกับปัจจุบัน : ไม่มีประโยชน์อะไรที่จะนึกถึงแต่เรื่องเก่า ๆ โดยเฉพาะความคับข ้องใจหรือไม่สมหวังในวันวาน เพราะมันผ่านมาแล้วไม่หวนกลับ
ในทางหนึ่งการคิดถึงเรื่องอนาคตที่ยังมาไม่ถึงก็ยังเป็นอะไรที่ยากเกินควบคุม จึงมีแต่ปัจจุบันเท่านั้นที่ท่านจะต ้องท ามันออกมาให้ดี
โฟกัสกับความคดิ เชงิบวก : ผมได ้เรียนรู้มาว่า การคิดอะไรแบบลบ ๆ มักจะกัดกร่อนความมั่นใจและท าให้เราทดท ้อลงไปได ้มาก จากที่เคยมุ่งมั่น
ท างานใหส้ าเร็จก็อาจจะกลายเป็นลม้เหลวไปไดโ้ดยง่าย
ตรงกันข ้ามกับเวลาที่เราโฟกัสในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยคิดแบบบวก ๆ จะชว่ ยใหเ้รารูส้ กึ ดดี กี ับสงิ่ นัน้ และพยายามท ามันจนประสบความส าเร็จ โดยมุ่ง
ผลงานให้ออกมาดีลิศ (เท่าที่จะท าได ้) อีกด ้วย จึงควรเรียนรู้ที่จะหาแง่มุมดีดีของสงิ่ ทผี่ า่ นเขา้มาในชวีติ การท างานมากกวา่ ทจี่ ะจนปลักอยู่กับความคดิ
แบบลบ ๆ ที่ไม่ประเทืองหัวใจแต่อย่างใดดีมั้ยครับ
อ.ชชั วาล อรวงศศ์ ภุ ทตั
Professional Human Resource (PHR)
วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาองค์กร