หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI เป็น หลักสูตร เพื่อขจัดความสับสน ในการทำงาน ด้วยการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัด การทำงานให้พนักงาน มีเป้าหมายในการทำงานที่ชัดเจนด้วย ดัชนีชี้วัด หรือ KPI: Key Performance Indicator

หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI: Key Performance Indicator: KPI เน้นการปฏิบัติ : Work Shop

ทำไม หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI: Key Performance Indicator: KPIถึงเหมาะกับพนักงานทุกคน

ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย กับ วิทยากรชั้นนำ
  • เรียนกับวิทยากรมีประสบการขายจริง มากกว่า 25 ปี
  • เคยทำยอดขายได้มากกว่า 1,000 ล้านบาทต่อปี
  • เป็น Top Sales ด้วยเทคนิคการขายเฉพาะตัว ที่พร้อมจะถ่ายทอดให้ทุกคนได้รู้ และทำตามแบบจับมือทำ
  • จบเรื่องการขายโดยตรงจาก มหาวิทยาลัย ซานฟรานซิสโก ประเทศอเมริกา
  • เคยทำตำแหน่งผู้บริหารมาก่อน ทำให้มองมุมกว้างของธุรกิจได้เป็นอย่างดี
  • เน้นการฝึกปฏิบัติ มากกว่า ทฤษฎี
  • มีเครื่องมือ Sales Move Analysis ช่วยให้ วางแผนการขายได้เป็นอย่างดี
  • มีขั้นตอนการขายที่ชัดเจน ทำให้ทุกคนนำไปใช้ได้ในการขายได้เลย
  • ใช้เวลาไม่มาก แต่ได้ผลเป็นอย่างดี
  • หลักสูตรนี้ เหมาะแก่การ อบรมพนักงานขายทั้งมีประสบการณ์และไม่มประสบการณ์
  • วิทยากรรู้จริง ทั้งทำงานขายมาก่อน และ อบรมพนักงานขายมานานมาก ทำให้รู้ทุกแง่มุมของการขาย

ข้อดี 6  ประการ ในการนำดัชนีชี้วัดผลงานมาใช้ มีดังนี้:

มีเหตุผลหลายประการที่ทุกองค์กรจำเป็นต้องมีดัชนีชี้วัดผลงาน หรือ Key Performance Indicator(KPI) เพราะดัชนีชี้วัด KPI เหล่านี้สามารถช่วยให้พนักงานทุกคน มีความชัดเจนในการทำงานและระบุจุดที่ต้องปรับปรุง และจุดที่ต้องสนับสนุนให้ทีมงานประสบความสำเร็จไปด้วยกัน และ KPI ยังมีความสำคัญอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้ 

1.เสริมสร้างขวัญกำลังใจของพนักงาน

การสร้างพนักงานที่มีแรงบันดาลใจและเพิ่มความพึงพอใจในงานช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพของทีมของคุณ นอกจากนี้ยังสามารถส่งเสริมวัฒนธรรมเชิงบวกและการทำงานร่วมกันภายในทีมงาน ดัชนีชร้วัด KPI ให้ข้อมูลแก่พนักงานเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงานในปัจจุบันในฐานะบุคคล ในฐานะทีม และในฐานะบริษัท ประสิทธิภาพเชิงบวกสามารถเพิ่มแรงจูงใจและส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตอย่างต่อเนื่อง

2.สนับสนุนวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ

ดัชนีชี้วัด KPI ที่ครอบคลุมสามารถช่วยส่งเสริมวัตถุประสงค์ทางธุรกิจของบริษัทได้ เนื่องจากดัชนีชี้วัด KPI  เหล่านี้จะช่วยรายงานการดำเนินงานของบริษัท พนักงาน และผลการดำเนินงานทางการเงิน การใช้มาตรการ ดัชนีชี้วัด KPI ที่ระบุถึงแต่ละแง่มุมที่สำคัญขององค์กรจะช่วยเพิ่มโอกาสที่บริษัทจะบรรลุเป้าหมายได้

3.ส่งเสริมการเติบโตของบริษัท

บริษัทที่ใช้เครื่องมือดัชนีชี้วัดผลงาน KPI อย่างมีประสิทธิภาพสามารถส่งเสริมการเติบโตของพนักงานและบริษัทได้ เนื่องจากสามารถระบุขอบเขตการปรับปรุงและช่วยให้บริษัทค้นพบความคิดริเริ่มในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังสามารถแสดงทักษะของพนักงานที่สามารถพัฒนาได้เพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

4.จัดการผลการดำเนินงานของบริษัท

การเปิดใช้งานการเข้าถึงรายงานผลงานผ่านดัชนีชี้วัด KPI ช่วยให้แต่ละคนรักษาความรับผิดชอบส่วนบุคคล ทีม และแผนกได้ ความรับผิดชอบนี้สามารถทำให้การสื่อสารระหว่างบุคคลง่ายขึ้นและส่งเสริมประสิทธิภาพเชิงบวก นอกจากนี้ ยังส่งเสริมความโปร่งใสเนื่องจากวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ แทนที่จะอาศัยบุคคลในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละบุคคล

5.วัดความคืบหน้า

การใช้มาตรการดัชนีชี้วัดผลงาน  KPI ยังช่วยให้บริษัทติดตามการปรับปรุงและความคืบหน้าการทำงานได้ การสร้างประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยตามรายงาน ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI สามารถให้วิธีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของรายงานใหม่ได้ นอกจากนี้ยังสามารถช่วยพิจารณาว่านโยบายและกระบวนการที่มีอยู่กำลังทำงานเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานหรือไม่

6.วิเคราะห์แนวโน้ม

รายงานดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ยังช่วยให้บริษัทสามารถระบุแนวโน้มประสิทธิภาพการทำงานทั้งเชิงบวกและเชิงลบได้ สิ่งนี้สามารถช่วยให้บริษัทต่างๆ ระบุและวางมาตรการเพื่อช่วยลดแนวโน้มเชิงลบได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังสามารถแสดงให้บริษัทเห็นว่ากระบวนการใดที่ช่วยให้พนักงานประสบความสำเร็จ

วิทยากรได้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นไป Certified Trainer ในหลักสูตร การบริหารจัดการ และ หลักสูตร Executive Leadership

ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย

วิทยากรเคยจัดรายการโทรทัศน์ รายการ “เส้นทางนักขาย” ทางเนชั่น

ภาพ ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย จัดรายการเส้นทางนักขาย ทางโทรทัศน์ช่อง Nation

หลักสูตรนี้ วิทยากรจบการศึกษาเรื่องการขาย จาก มหาวิทยาลัย ซานฟรานซิสโก และการเจรจาต่อรอง จาก มหาวิทยาลัย Notre Dame และ ประเทศอเมริกา

ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย
ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย
Jack-Canfield ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย
W. Chan Kim Blue Ocean Strategies และดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย-
Brain Tracy ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย
ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย-John-C-Maxwell Leadership

เหตุผลที่ พนักงาน และ ผู้จัดการ ส่วนใหญ่ตัดสินใจเลือกอบรมหลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI: Key Performance Indicator: KPI เน้นการปฏิบัติ : Work Shop

1.เข้าใจความหมายของ ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ทำให้ไม่กังวลใจต่อไป

2.เข้าใจ ขั้นตอนการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI อย่างเป็นระบบ

3.ได้ทำการออกแบบดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  ทำให้รู้จุดบกพร่อง และนำไปใช้ได้จริงในการทำงาน

4.ทำให้ได้เทคนิคการจัดทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  ด้วยวิธีที่ง่ายมาก

5.มีเทรมเพลสในการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  ใช้ในการทำงานจริง

6.ได้รับเทคนิคการทำ ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  ได้ง่ายขึ้น

7.ได้แนวคิด หรือ Feedback เกี่ยวกับเทคนิคการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI เพื่อปรับปรุงกระบวนการขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อปิดช่องโหว่

8.ทำให้การเตรียมตัวในการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  สามารถรับกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดี

9.ได้ฝึกการตั้งคำถามในการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  ทำให้ได้ KPI ที่ตรงกับความต้องการ

10.ได้ปรับ Mindset เรื่องการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI  ไม่เป็นสิ่งที่น่ากลัวเกินไป

11.ได้ฝึกสังเกตเป้าหมาย และความคาดหวัง นำมาสร้างดัชนีชี้วัดผลงาน KPI

12.มีความมั่นใจมากขึ้น ในการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI

13.ชอบวิธีการสอนของ อ.สุรชัย โฆษิตบวรชัยทำให้ได้เรียนรู้ การทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ที่ทำได้ทันที

14.มองเทคนิคการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ได้ครบวงจรการมากขึ้น

15.ได้เทคนิคการนำเสนอ การทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ใหม่ ๆ

16.นำ Case Study เกี่ยวกับการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPIไปใช้ในงานจริง

17.ได้ความคิดการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPIเป็นขั้นเป็นตอน จัดระบบได้ดียิ่งขึ้น

18.มีมุมมองต่อ การทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ดีขึ้นมาก

19.กล้าพูด กล้าคุย เรื่องการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI กับ หัวหน้างานและผู้จัดการมากขึ้น

20.มีแผนและเป้าหมายที่ชัดเจนในการการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI

21.เข้าใจขั้นตอนการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ทำให้ควบคุมสถานการณ์ได้เป็นอย่างดี

22.มีกำลังใจ เห็นโอกาสในการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ตลอดเวลา ทำให้เพิ่มโอกาสในการพัฒนาความสำเร็จ

23.ไม่กลัวการทำดัชนีชี้วัดผลงาน KPI อีกต่อไป  ถึงแม้สถานการณ์ที่ตึงเครียด ได้รับแรงกดดัน แต่ก็มีเครื่องมือแก้สถานการณ์ได้เป็นอย่างดี

เนื้อหา หลักสูตร ฝึกอบรม อย่างย่อ

การฝึกอบรม หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI จะเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม โดยให้ความสำคัญในการจัดทำ ดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน

การฝึกอบรม เพื่อพัฒนาการสร้างดัชนีชี้วัดผลงาน  KPI และการวัดผลการปฏิบัติงานให้ประสบความสำเร็จ ต้องมีวิธีการระบุตัวบ่งชี้ความสำเร็จ ที่เรียกว่า ดัชนีชี้วัดผลงานหรือ เรียกว่า Key Performance Indicator ที่มีความหมายและมีประ โยชน์สำหรับการประเมินผลงาน ทำให้ให้พนักงานยอม รับ ที่ดีที่สุด

การสร้างมาตรฐานของดัชนีชี้วัดผลงาน KPI จะทำให้การวัดประเมินผลงานมีประสิทธิภาพหรือ KPI เป็นส่วนสำคัญของระบบการจัดการวางแผนเชิงกลยุทธ์ เพื่อความเป็นเลิศทางธุรกิจ

ดัชนีชี้วัดยังมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการประเมินประสิทธิผลของการนำกลยุทธ์ไปใช้ในการสร้างความสำเร็จในการทำงาน

ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ยังช่วยในการวิเคราะห์ช่องว่างที่เกิดขึ้นระหว่างประสิทธิภาพจริงและประสิทธิภาพเป้าหมาย และด้วยการวัดประสิทธิผลขององค์กรและประสิทธิภาพการดำเนินงาน มาตรการปฏิบัติงาน มาตรการโครงการ มาตรการความเสี่ยง และมาตรการพนักงาน จัดให้มีระบบเตือนภัยล่วงหน้าทั่วทั้งองค์กรเพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ

ดัชนีชี้วัด KPI ที่มีความหมายและแข็งแกร่งจะให้ข้อมูลเชิงลึกว่ากลยุทธ์ใดเหมาะสมในการสร้างความสำเร็จในการทำงาน เป็นการควบคุมโครงการ และบริการเป็นไปตามกำหนดเวลา ตามงบประมาณ และส่งมอบอย่างมีประสิทธิผลหรือไม่ KPI มุ่งเน้นความสนใจของพนักงานไปยังสิ่งที่สำคัญที่สุดต่อความสำเร็จ และช่วยให้สามารถวัดความสำเร็จได้

หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI เหมาะสำหรับพนักงานทุกคน ทั้งภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ภาครัฐ และไม่แสวงหาผลกำไร และมอบเครื่องมือที่ใช้งานได้จริงแก่ผู้เข้าอบรม เพื่อพัฒนา ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ด้วยการพัฒนาทักษะของผู้เข้าอบรมผ่านชุดแบบฝึกหัดการใช้งานจริง

ผู้เข้าร่วมอบรมจะได้รับการเรียนรู้วิธีใช้ เครื่องมือดัชนีชี้วัดผลงาน เช่น โมเดลที่เป็นตรรกะ การวิเคราะห์สาเหตุ-ผลกระทบ และการวิเคราะห์ผังกระบวนการที่องค์กรต่างๆ ทั่วโลกใช้ เพื่อทำความเข้าใจและระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ กำหนดว่าจะวัดอะไร กำหนดเป้าหมายและเกณฑ์ พัฒนาการวัดแบบรวมโดยใช้ การวัดประสิทธิภาพระดับล่าง วัดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ กระบวนการ และอินพุต และสร้างรายงาน การวิเคราะห์ข้อมูลการตัดสินใจทั่วทั้งองค์กรได้ดียิ่งขึ้น

หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจพื้นฐานของการจัดการประสิทธิภาพ จากนั้นจึงพัฒนา ปรับใช้ และ การจัดการ KPI ที่มีความหมายสำหรับการจัดการ การวางแผนกลยุทธ์เพื่อความเป็นเลิศทางธุรกิจ

หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน KPI: Key Performance Indicator: KPI เน้นการปฏิบัติ : Work Shop

หมายเหตุ: หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ประยุกต์มาจากหลักสูตร Expert Selling จาก University of San Francisco ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยวิทยากรได้รับ Certificate of Expert Selling Program,  Certificate of Expert Sales Management Program และ Certificate of Transitioning to Sales Management Program

หลักสูตร-ฝึกอบรม-ดัชนี-ชี้วัด-KPI โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย

ความท้าทาย ที่ทุกองค์กรกำลังเชิญอยู่

เป็นที่ทราบกันดีว่าความสำเร็จของการบริหารงาน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่มีความสำคัญของดัชนีชี้วัดผลงาน ที่เป็นหัวใจของความสำเร็จคือการทำให้พนักงานทุกคนทำงานอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน วัดผลงานได้ และต้องทำให้ทุกฝ่ายต่างยอมรับการวัดผลงาน เพื่อทำให้ทั้งผู้จัดการ ผู้บริหารและพนักงานมีความยอมรับด้วยความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลงาน ซึ่งการประเมินผลงาน  (PA: Performance Appraisal) ที่ทำให้พนักงานยอมรับได้ เท่ากับเป็นการสร้างความสำเร็จในการทำงานร่วมกันระหว่างผู้บริหารและพนักงาน ทำให้พนักงานมีกำลังใจที่อยากจะทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่เป็นดัชนีชี้วัดผลงานที่กำหนดไว้

แต่ในทางปฏิบัติการสร้างและกำหนดดัชนีชี้วัดผลงาน Key Performance Indicator: KPI ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะมีหลายฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดดัชนีชี้วัดผลงานให้ถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ เพราะหนดดัชนีชี้วัดผลงาน Key Performance Indicator: KPI   ที่ดีมีปัจจัยมากมาย ทำให้ผู้จัดการ ผู้บริหาร หลายคนรู้สึกสับสนในกระบวนการ ซึ่งเป็นความท้าทายสำคัญของผู้จัดการ ผู้บริหารและพนักงานในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน KPI จนทำให้เกิดความพึงพอใจในทุกฝ่าย ทำให้ผู้จัดการ ผู้บริหาร หลายคนไม่ชอบการกำหนดดัชนีชี้วัดผลงาน เพราะมีปัญหาอุปสรรค และ ความท้าทาย แต่อย่างไรก็ตาม การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานเป็นภาระกิจที่สำคัญที่ผู้จัดการ ผู้บริหารและพนักงานต้องทำร่วมกัน ซึ่งความท้าทายในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานมีดังต่อไปนี้

1.ขาดเป้าหมายที่ชัดเจนและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI โดยไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจนถึงความต้องการแท้จริงในการกำหนดดัชนีชี้วัดคืออะไร ทำให้การสร้างและพัฒนาดัชนี้ชี้วัดผลงานKPI เป็นไปตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล ทำให้เกิดความสับสนในการสร้างและพัฒนา ดัชนี้ชี้วัดผลงาน ทำการการสร้างและพัฒนาดัชนี้ชี้วัดผลงานที่กว้างเกินไป

2.ผู้จัดการ ผู้บริหาร ไม่มีการสร้างและพัฒนาดัชนี้ชี้วัดผลงานให้ตนเอง

การยอมรับของพนักงานคือการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI ที่ยุติธรรมจากผู้จัดการ ผู้บริหาร แต่ถ้าผู้จัดการ ผู้บริหาร ไม่มีการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI ให้ตนเอง จะทำให้พนักงานมีความรู้สึกว่าผู้จัดการ ผู้บริหารไม่มีความยุติธรรมใน ทำให้การสร้างและการพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานไม่ได้รับการยอมรับที่ดีจากพนักงาน

3.ระดับการให้คะแนนในดัชนีชี้วัดไม่ชัดเจน

การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI จำเป็นต้องมีการให้คะแนนที่ยุติธรรม ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องมีการให้ระดับคะแนนที่ชัดเจน มีคำอธิบายที่เป็นเป้าหมายชัดเจน มีความหมายของระดับคะแนนในแต่ละระดับ ทำให้พนักงานทุกคนที่ยอมรับในดัชนีชี้วัดผลงานKPI ด้วยความเข้าใจเหมือนกัน เกณฑ์การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานเป็นเรื่องสำคัญ เพราะพนักงานจะทำงานตามเกณฑ์ดัชนีชี้วัดผลงานที่กำหนดไว้

4.ผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงานมีมุมมองในประเมินที่แคบเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาดัชนี้ชี้วัดผลงาน

การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI จำเป็นต้องมีข้อมูลที่กว้างและเพียงพอต่อการวัดผล การมองมุมมองการการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่จำกัด ทำให้ไม่สามารถที่จะพิจารณาได้อย่างรอบคอบ ทำให้การนำดัชนีชี้วัดKPI ไปใช้ประเมินไม่ดี เพราะเกิดความเบี่ยงเบนของข้อมูล

5.ผู้จัดการ ผู้บริหาร ไม่มีการนำข้อมูลในอดีตมาเปรียบเทียบ หรือไม่มีข้อมูลในอดีต

ข้อมูลคือหัวใจสำคัญในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI ของพนักงาน เมื่อไรก็ตามที่ข้อมูลไม่เพียงพอ ไม่มีการเก็บข้อมูลย้อนหลังเพื่อนำมาเปรียบเทียบ ทำให้ผู้จัดการ ผู้บริหาร มององค์ประกอบการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานไม่ครบถ้วน ผลที่ตามมาคือพนักงานจะไม่ยอมรับดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ในครั้งนั้น ๆ ดังนั้นการนำข้อมูลย้อนหลังเพื่อติดตาม เพื่อการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน จึงเป็นเรื่อสำคัญในการกำหนดดัชนีชี้วัดผลงาน

6.ไม่มีมาตรฐานการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

มาตรฐานการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานKPI คือเกณฑ์การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ที่ได้รับการยอมรับจากพนักงานทุกคน หากผู้จัดการ ผู้บริหาร ไม่มีมาตรฐานการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่ดีพอเช่นมาตรฐานการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการประเมินพนักงาน จะทำให้ประ สิทธิภาพของการประเมินลดลง พนักงานจะไม่ยอมรับการประเมินในครั้งนั้น ๆ เพราะ ไม่ยอมรับต่อดัชนีชี้วัดผลงานพนักงานด้วยการกำหนดดัชนีชี้วัดตามความเชื่อและประสบการณ์ส่วนตัว แต่ถ้ามีการกำหนดมาตรฐานดัชนี้ชี้วัดผลงานKPI ที่พนักงานทุกคนยอมรับเท่ากับเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการทำงานร่วมกัน

    หลักสูตร-ฝึกอบรม การสร้างและพัฒนา ดัชนีชี้วัด KPI โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย

    ความเป็นมาของหลักสูตร การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัด KPI

    ปัจจุบัน นี้เป็นยุคของการบริหารจัดการสมัยใหม่นั้น ทำให้คนทำงานในทุกระดับชั้น ต้องมีความเข้าใจในธุรกิจและยอมรับการปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว ตามกระแสของการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจที่ทุกคนรู้จักดีในเรื่องของการเปิดการค้าเสรี พนักงานทุกคน รวมถึงผู้บริหารคือผู้ที่ต้องทำงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ องค์การ โดยการประสานความร่วมมือจากบุคคลรอบข้างทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กรใน ทุกด้าน เช่นพนักงาน เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา หรืออื่นๆ โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจในสภาวะแวดล้อมของธุรกิจ

    การสร้างดัชนีชี้วัดเพื่อผลสำเร็จในการทำงาน จึงเปรียบเสมือนเป้าหมายที่สำคัญให้พนักงานเดิน และเข้าใจถึงระดับความก้าวหน้าหรือระดับของความสามารถของตนเอง

    ใน หลักสูตร ผู้จัดการอัจฉริยะ (The Super Manager) จะกล่าวไว้เสมอว่าเกณฑ์การสร้างและพัฒนาดัชนี้ชี้วัดผลงาน ความสำคัญและมีวัตถุประสงค์ คือการวัดประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน ซึ่งสามารถสะท้อนได้ถึงความสามารถของพนักงานในการทำงาน หรือ ทัศนคติในการทำงาน และความเร่งด่วนที่ผู้นำต้องบริหารจัดการ     แต่อย่างไรก็ตามการสร้างและพัฒนาดัชนี้ชี้วัดผลงาน ต้องแน่ใจว่าพนักงานได้สร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดตามมาตรฐานที่กำหนด เพื่อผู้จัดการ ผู้บริหาร จะนำไปใช้เป็นเกณฑ์การประเมินมาพิจารณาความแตกต่างของความสามารถของพนักงาน

    ผู้จัดการ ผู้บริหาร ยังใช้การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดเพื่อการประเมินผลงานพนักงาน (PA: Performance Appraisal) โดยใช้ดัชนีชี้วัดเป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถของพนักงาน ซึ่งผลจากการประเมินพนักงานนั้นไม่ว่าพนักงานจะทำงานได้ดีหรือไม่ดี ผู้จัดการ ผู้บริหาร จะใช้โอกาสของการกำหนดดัชนีชี้วัดผลงานมาประเมินพนักงานเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาพนักงานนั้น ทำให้พนักงานมีโอกาสในการเข้าร่วมโปรแกรมการพัฒนาความสามารถที่จำเป็นเพื่อปฏิบัติหน้าที่ได้ดีขึ้น เพื่อปิดช่องว่างของดัชนีชี้วัดผลงาน ซึ่งขั้นตอนนี้ ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล จะจัดทำหลักสูตรเพื่อการปิดช่องว่างของความรู้ ทักษะที่จะเป็น ที่องค์กรต้องการจากพนักงานคนนั้น ๆ ซึ่งเป็นช่องว่างของความสามารถของพนักงานเทียบกับดัชนีชี้วัดผลงาน เพื่อนำผลมาใช้ในการสร้างแผนการพัฒนาพนักงานส่วนบุคคลทำให้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ งานของพนักงานได้ดียิ่งขึ้น

    หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน Key Performance Indicator : KPI จึงเป็นเสมือนเครื่องมือที่สำคัญ ที่จะทำให้ผู้เข้ารับการอบรมนั้นเข้าใจในธุรกิจของตนเองอย่างลึกซึ้ง และสามารถที่จะออก แบบแนวคิดว่าองค์กรที่ท่านทำงานอยู่นั้นควรเป็นเช่นไร จะสร้างยุทธศาสตร์เชิงรุกได้อย่างไร ทำให้การตัดสินใจขององค์กรนั้นมีความเฉียบคม ทำให้สามารถเลือกวิธีในการทำธุรกิจให้ชนะได้อย่างไร

    หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน Key Performance Indicator  KPI เป็นหลักสูตรมาตรฐานที่ถูกออกแบบตามแนวทางการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้นำไปใช้ในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานเพื่อการประเมินลผลการทำงานของพนักงานให้มีประสิทธิภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและการยอมรับการกำหนดดัชนีชี้วัดผลงานที่เป็นสากล สร้างความั่นและศรัทธาให้กับพนักงานจากการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ให้กับพนักงานผู้จัดการ ผู้บริหาร ในการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

    จัดอบรม สัมมนา StepPlus training -InHouse-Public-
    จัดอบรม สัมมนา StepPlus training -InHouse-Public-

    วัตถุประสงค์ของ หลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน Key Performance Indicator  KPI

      1. ทำให้ ผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงานเห็นถึงความสำคัญของการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน KPI เพื่อนำมาพัฒนาความสำเร็จในการทำงาน
      2. ทำให้เข้าใจและรับรู้ถึงปัญหาที่ตามมาถ้าการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน KPI ไม่ดีพอ
      3. พัฒนาทักษะและความรู้ ในการการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน KPI โดยเน้นการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงานในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
      4. มีเกณฑ์ในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ทำให้พนักงานยอมรับดัชนีชี้วัดผลงาน
      5. มีแนวทางในการสร้างเครื่องมือในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ทำให้เข้าใจเรื่องการการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานได้ชัดเจนและง่าย สามารถนำไปใช้ได้ทันที
      6. มีเทคนิคการเตรียมการ ขั้นตอนในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อสร้างกลไกการกำหนดดัชนีชี้วัดทำให้พนักงานยอมรับ
      7. การพัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน แนวคิด วิธีการสื่อสารอย่างไรในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน เพื่อให้พนักงานยอมรับ
      8. มีเทคนิคในการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ เพื่อบริหารข้อขัดแย้ง ความไม่พอใจ หรือการบริหารจัดการสถานการณ์ที่ยากลำบาก ในการการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      9. มีหลักในการสร้างมาตรฐานการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ทำให้ทุกคนยอมรับดัชนี้วัดผลงาน จากมาตรฐานที่ได้ตกลงกันล่วงหน้า
      10. เพื่อส่งเสริมให้นำแนวคิดการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานใหม่ๆ มาใช้ในการกำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ชัดเจนจนนำไปประเมินผลการทำงานของพนักงาน ทำให้พนักงานยอมรับการประเมินผลการทำงานจากผู้นำ
      11. สร้างวัฒนธรรมการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานเป็นเรื่องที่ดี และการดัชนีชี้วัดเพื่อไปประเมินผลการทำงานเพื่อประโยชน์กับพนักงานมากกว่าผลเสีย ทำให้ทุกคนยอมรับการประเมินในครั้งนั้น ๆ
      ลงทะเบียนอบรม StepPlus Training
      ช่องการการติดต่อ-StepPlus Training
      หลักสูตรอบรม เทคนิคการขายที่ดีที่สุด
      รวมหลักสูตรอบรม การเจรจาต่อรองที่ดีที่สุด

      ประโยชน์ที่คุณจะได้รับจากการเข้าอบรมหลักสูตร ดัชนีชี้วัดผลงาน Key Performance Indicator  KPI:

      1. ผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงาน มีเป้าหมายในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่ชัดเจน ทำให้พนักงานเข้าใจและยอมรับดัชนีชี้วัดผลงาน KPI นั้น ๆ
      2. เข้าใจ จุดอ่อนของดัชนีชี้วัดผลงานที่ต้องพัฒนา ในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน เพื่อนำไปยกระดับและปรับปรุงแนวทางการกำหนดดัชนีชี้วัดให้ได้รับการยอมรับ ว่ามีประสิทธิภาพ
      3. มีกระบวนการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่ชัดเจน เป็นขั้นเป็นตอน ทำให้ได้ดัชนีช้วัดผลงานที่มีคุณภาพที่ดีขึ้น
      4. ทำให้มั่นใจในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ด้วยเทคนิคการกำหนดดัชนีชี้วัดที่เป็นมาตรฐาน จนสามารถสร้างความยอมรับในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
      5. เปลี่ยนแนวคิด ในเรื่องการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ถึงวิธีการในการสร้างดัชนีชี้วัดทำให้พนักงานยอมรับและนำไปใช้ในการประเมินผลงานพนักงาน
      6. เทคนิคทำให้พนักงานยอมรับการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ทำให้ศรัทธาวิธีการกำหนดดัชนีชี้วัดผลการทำงาน ให้ได้ประสิทธิภาพในการทำงาน
      7. ผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงาน มองเห็นโอกาสจากการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน ทำให้ทั้งสองฝ่ายร่วมแรงร่วมใจในการจัดทำการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
      8. ผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงาน มีแนวทางในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่เป็นมาตรฐานการทำงานให้กับพนักงาน ทำให้แยกเรื่องการประเมินและเรื่องส่วนตัวออกจากกัน ทำให้พนักงานพึงพอใจและยอมรับต่อการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
      9. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ทำให้พนักงานรู้สึกดีต่อการประเมิน คนข้างนอกก็จะเชื่อมั่นในการอยากมาทำงาน เพราะมีระบบการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานที่น่าเชื่อถือ
      10. มีวิธีการสื่อสารที่ดีระหว่างผู้จัดการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการประเมินผลการทำงาน ทำให้เกิดความพอใจในการการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
        รวมหลักสูตรผู้จัดการ-ผู้บริหาร โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย
        รวมหลักสูตร เทคนิคการนำเสนอ ที่ดีที่สุด Effective Presentation
        รวมหลักสูตรอบรมการเป็นวิทยากร ที่ดีที่สุด
        Stepplus training เนื้อหา หลักสูตร ฝึกอบรม

        โมดูลที่1: แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน

        • ความสำคัญของการการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน กับความสำเร็จขององค์กร
        • ความหมายของดัชนีชี้วัดผลงาน Effective Creation and development of Key Performance Indicators
        • องค์ประกอบการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน เพื่อความสำเร็จ
        • ประโยชน์ของการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน กับการนำไปใช้ในการพัฒนาความสำเร็จให้พนักงาน
        • แนวทางและความแตกต่างการประเมินผลงานตามวัตถุประสงค์ (Management by Objective) VS การประเมินตามดัชนีชี้วัดความสำเร็จงาน(KPI) VS ตามสมรรถนะ(Competency) ของพนักงานในการทำงาน

        โมดูล 2: การวางกรอบขั้นตอนการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงานให้ชัดเจน

        • องค์ประกอบหลักและองค์ประกอบรอง การสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน
        • วิเคราะห์จุดอ่อนการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานของพนักงาน ในปัจจุบันและแนวโน้มที่ทำให้พนักงานไม่ยอมรับ
        • การสร้าง ความยุติธรรมในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
        • ปัญหาและอุปสรรคที่พบบ่อยในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานและการนำไปใช้ในการประเมินผลงาน
        • ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน ที่ถูกต้อง: ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ

        โมดูลที่3: ทำความเข้าใจการบริหารจัดการบุคคลเชิงกลยุทธ์ (People Strategic Management)

        •  ภาพรวมของการวางแผน (Corporate Planning)
        • วิเคราะห์นโยบายหลักที่เป็นเป้าหมายขององค์กร
        •  ทบทวนเป้าหมายขององค์กรและแนวคิดของระบบบริหารงานตามเป้าหมาย
        • การวิเคราะห์วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ(Mission) เป้าหมาย (Goal) และ วัตถุประสงค์(Objective) ในปัจจุบัน
        • ปิรามิดกลยุทธ์ สำหรับองค์กร และหน่วยงาน
        • การสร้าง แผนผังกลยุทธ์ (Strategic Map) เพื่อกำหนด ดัชนีชี้วัด
        • ความเข้าใจแนวทางการบริหารคน ให้สอดคล้องกับทิศทางขององค์กร ตามแนวทางสร้างคุณค่าของการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตัวชี้วัดของงาน
        • การจัดทำ Workshop กรณีศึกษา ประชุมกลุ่มและการนำเสนอ

            โมดูลที่4: ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน KPIs

            • ประเภทของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่คาดหวัง
            • แนวคิดการกำหนดดัชนีชี้วัด KPI องค์กร หน่วยงาน แผนกและตำแหน่งงาน
            • บทบาทหน้าที่และความคาดหวังของตำแหน่งงาน (Role Profile)

            โมดูลที่5: เทคนิคการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน (KPIs: Key Performance indicators)

            • การสร้าง KPIs องค์กร (Corporate KPIs) เพื่อสะท้อนความสำเร็จขององค์กร
            • การวิเคราะห์รูปแบบการกำหนดดัชนีชี้วัดผลงาน ระดับองค์กร (Corporate KPIs)
            • การสร้างและการขยายผลดัชนีชี้วัดไปสู่ระดับแผนก หน่วยงานและพนักงาน
            • การสร้างความสัมพันธ์ของ KPIs ของแต่ละแผนกเพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกัน
            • การสร้างแผนปฏิบัติการ ตามแนวทาง Effective Action Plan เพื่อการปรับปรุง ดัชนีชี้วัดผลงาน 

            โมดูลที่6: การสื่อสารเพื่อสร้างการยอมรับในการดัชนีชี้วัดผลงาน

            • เทคนิคการสื่อสาร เพื่อลดข้อขัดแย้ง ความไม่พอใจ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากดัชนีชี้วัดผลงาน
            • การพัฒนากระบวนการสื่อสารภายในองค์กร เพื่อ ให้พนักงานยอมรับดัชนีชี้วัดผลงาน
            • การเปิดช่องทางในการสื่อสารเพื่อความยุติธรรมจากการประเมินผลงานที่นำดัชนีชี้วัดผลงานมาใช้
            • ข้อพึงระวัง ในการสร้างและพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงาน
            • การจัดทำ Work Shop บทบาทสมมุติ ฝึกปฏิบัติผ่านกิจกรรม และการระดมสมอง
                รวมหลักสูตร เทคนิคการนำเสนอ ที่ดีที่สุด Effective Presentation

                วิธีการฝึกอบรม ตามความเหมาะสมของสมอง Brain Base Learning

                Group Discussion

                Role Play in Real Situation

                Individual Assignment

                Case Study

                Presentation & Feedback

                Coaching

                Attitude Changing

                Creative Thinking

                บริษัทฝึกอบรม

                สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่…

                บริษัท ที่ปรึกษาและพัฒนาธุรกิจ จำกัด

                : StepPlus Training

                : โทร 083 276 8877, 02 349 1788

                : E-mail: training@stepplus.org 

                : Line: @StepPlusTraining

                Address

                1991/157 ถ.อ่อนนุช แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง จังหวัด กรุงเทพมหานคร 10250

                ลงทะเบียน StepPlus Training

                Loading

                UA-75256908-1