กลยุทธ์ทาง Bench-Marking สำหรับนักการตลาด คืออะไร?
กลยุทธ์ทาง Bench-Marking สำหรับนักการตลาด คือ แนวทางการนำกลยุทธ์ ทาง Bench-Marking มาใช้เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางกลยุทธ์ ทางการตลาด ทำให้ความแตกต่างระหว่างตนเอง กับคู่แข่งได้ชัดเจน
การจัดทำกลยุทธ์ทาง Bench-Marking สำหรับนักการตลาด
ดร.กฤษฎา ตันเปาว์
ทุกวันนี้หลายค่าย หลาบบริษัทต่างมุ่งเน้นการทำ Bench-Marking เพราะการแข่งขันทางธุรกิจทุกวันนี้มีความรุนแรง และ รวดเร็ว มากกว่าอดีตแบบก้าวกระโดด ในทุกวงการธุรกิจ ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ ความพร้อม และมีการพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง จึงจะอยู่ได้ในโลกที่แคบลงด้วยการสื่อสาร “ยุคดิจิตัล” ประสิทธิภาพสูงในปัจจุบัน
Benchmarking คือ กระบวนการค้นหาการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Best Practices) เชิง“เปรียบเทียบ” ในบรรดาคู่แข่งขันทั้งหมด เพื่อนำไปสู่การหาวิธีการปฏิบัติเสมือนผู้นำ ที่ทำดีที่สุดในเรื่องนั้นๆ
ประเภทของ Benchmarking สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.แบ่งตามวัตถุประสงค์
-Performance Benchmarking
เป็นการเปรียบเทียบเฉพาะผลการปฏิบัติงาน ที่เป็นผลลัพธ์หรือกระบวนการ เช่น ยอดขาย ผลกำไร ส่วนแบ่งตลาด อัตราการเติบโต เป็นต้น โดยการนำผลของคู่เปรียบเทียบที่ทำได้ดีที่สุดในตลาดมาเป็นตัวตั้งเพื่อเปรียบเทียบ
-Process Benchmarking
เป็นการเปรียบเทียบกระบวนการทำงาน หรือวิธีปฏิบัติงาน ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ผู้ที่ทำดีที่สุดในกระบวนการทำงานนั้น เช่น ประหยัด รวดเร็ว มีประสิทธิภาพสูงสุด ว่าทำอย่างไร
-Product Benchmarking
สินค้า โดยเฉพาะสินค้าเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ว่ามีสิ่งใดนำเสนอใหม่สู่ตลาด เพื่อที่เราจะได้นำมาแก้เกม โดยการพัฒนาที่หาจุดเด่นและปิดจุดด้อยของสินค้าที่ดีที่สุดนั้นๆ
-Strategy Benchmarking
เป็นการให้ผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ภาพรวมของคู่เปรียบเทียบที่มีประสิทธิภาพ ว่ามี วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ระดับต่างๆทั้งองค์กรอย่างไร
2.แบ่งตามผู้ที่เราไปเปรียบเทียบด้วย
-Internal Benchmarking
เป็นการเปรียบเทียบกันเองภายในองค์กร เช่น ฝ่ายขาย เปรียบเทียบกับฝ่ายบัญชี ในการจัดระบบเอกสารงาน ที่ทำได้ดีที่สุดในองค์กร เป็นต้น
-Competitive Benchmarking
เป็นการเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน ที่อาจเปรียบเทียบผู้นำในตลาดโดยตรง (Direct Competitor) เช่น เราทำธุรกิจ Smart Phone ก็เปรียบเทียบกับผู้นำในตลาด ณ ขณะนั้น หรือการเปรียบเทียบกับธุรกิจที่ใกล้เคียง (Related Competitor) เช่น เปรียบเทียบกับธุรกิจที่เป็นสินค้าเทคโนโลยีเหมือนกัน เป็นต้น
-Cooperative Benchmarking
เป็นการร่วมกันพัฒนาหาวิธีที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงานต่างๆกับพันธมิตรทางธุรกิจ
ขั้นตอนการทำ Bench-marking อย่างมืออาชีพ
ดร.กฤษฎา ตันเปาว์
การทำ Bench-Marking นั้น เป็นเรื่องที่สำคัญของทุกองค์กร เพราะถ้าไม่เข้าใจขั้นตอนการจัดทำ Bench-Marking อาจะทำให้ผลที่ได้รับนั้นไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ตนเองอยากได้รับเท่ากับว่าไม่ตอบโจทย์องค์กร ก็ทำให้ไม่สามารถนำมาใช้ได้ อุตส่าห์ลงทุนลงแรงไปมากมาย อย่างนี้ก็น่าเสียดาย ขั้นตอนการทำ Bench-Marking มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.การวางแผน (Planning)
– เป็นขั้นในการกำหนด หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ ประเด็นที่ต้องการเปรียบเทียบ ว่าองค์ประกอบใดที่ต้องการเปรียบเทียบเพื่อพัฒนา
– การกำหนดองค์การที่ต้องการเปรียบเทียบ ว่าจะเปรียบเทียบกับใคร ภายใน คู่แข่งภายนอก หรือพันธมิตรธุรกิจ
– กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล โดยการตัดสินใจว่าจะเก็บข้อมูล แบบใด เชิงปริมาณ หรือ เชิงคุณภาพ เป็นแบบสอบถาม หรือ การสัมภาษณ์อย่างไร
2.การวิเคราะห์ (Analysis)
– วิเคราะห์ช่วงห่าง (Gap Analysis) ระหว่างส่วนที่จะเปรียบเทียบของเรา กับคู่เปรียบเทียบ
– คาดคะเน และการตั้งเป้าหมายความห่างในอนาคต ตามระยะเวลาที่กำหนด เป็น เดือน ปี
3.การบูรณาการ (Integration)
– การสื่อสารผลการทำ Benchmarking ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ เช่น ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร ลูกค้า พนักงาน หรือฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่างๆ
– การตั้งเป้าหมาย เป็นการระดมสมองของผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาส่วนที่ดำเนินการนั้น ให้สัมฤทธิ์ผล
4.การนำไปปฏิบัติ (Imprementation)
– การจัดทำแผนดำเนินการ การทำตารางคุมการปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ
– การนำแผนสู่การปฏิบัติ เป็นขั้นการทำงาน ที่คอยควบคุมให้เป็นตามแผน
– การสอบทวนผลกับผู้ที่ดีที่สุด/ ผู้ที่เราเปรียบเทียบ โดยการเปรียบเทียบต่อเนื่องและตั้งบรรทัดฐานในการพัฒนาต่อไป
บทความน่าอ่านเพิ่มเติม
เรียนรู้ความสำเร็จในการขาย เพื่อความสำเร็จของตนเอง
เรียนรู้ความสำเร็จในการขาย เพื่อความสำเร็จของตนเอง โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย เป็นที่แน่ชัดว่าคนส่วนใหญ่อยากประสบความสำเร็จ บางคนไปเรียนหลักสูตรการขาย เข้าอบรมในหลักสูตรอบรมมากมาย ความสำเร็จในการขายที่กล่าวไว้ในหลักสูตรการขายชั้นนำต่าง ๆ...
เทคนิคการขายกับ 4 แนวคิดที่นักขายรุ่นใหม่ต้องรู้
เทคนิคการขายกับ 4 แนวคิดที่นักขายรุ่นใหม่ต้องรู้ โดย ศ.ดร.อุทิส ศิริวรรณ และ ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย แนวคิดของเทคนิคการขายที่นักขายต้องรู้และเข้าใจ ซึ่งในหลักสูตรการขายในปัจจุบันนั้นอาจจะไม่ได้พูดถึงแนวคิดเช่นนี้ที่นักขายพึงจะต้องมี...
หลักสูตรการขาย ตอนเจรจาต่อรอง
หลักสูตรการขาย ตอน "เทคนิคการเจรจาต่อรอง" โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจที่นักขายหลายคนเข้า "อบรมหลักสูตรการขาย" แต่ยังไม่สามารถเจรจาต่อรองและปิดการขายได้ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะมีนักขายหลายคนนั้นกลัวการเจรจาต่อรอง...
ผู้จัดการหรือผู้บริหาร ทำอย่างไร เมื่อผลประเมินพนักงานต่ำ
ผู้จัดการหรือผู้บริหารจะแก้ไขอย่างไร เมื่อผลประเมินพนักงานต่ำกว่าเกณฑ์ โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย มีผู้จัดการหรือผู้บริหารจำนวนไม่น้อยที่พอถึงเทศกาลการประเมินผลงานพนักงาน ก็จะออกอาการทำอย่างไรดี ไม่ใช่เรื่องการประเมิน...
เทคนิคการขาย:ใครผิด ใครถูก ใครได้ ใครเสีย
ใครผิด ใครถูก ใครได้ ใครเสีย โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย มีนักขายหลายคน เข้าอบรมหลักสูตรการขายหลายครั้งมักมีข้อสงสัยในเรื่องของความผิดหรือถูกระหว่างนักขายกับลูกค้า ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ จึงอยากจะนำมาเขียนเพื่อจะทำความเข้าใจโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในงานขาย ในคำถามถามในทำนอง...
จัดการอย่างไร เมื่อผู้บริหารหรือผู้จัดการไม่ชอบพัฒนาตนเอง
จัดการอย่างไร เมื่อผู้บริหารหรือผู้จัดการไม่ชอบพัฒนาตนเอง? stepplus training.com เป็นเรื่องที่หน้าประหลาดใจที่ปัจจุบันมีหลักสูตรผู้บริหารหรือหลักสูตรผู้จัดการดี ๆ มากมายแต่ผู้จัดการกลับไม่ชอบที่จะเข้าร่วมหรือพัฒนาตนเอง...
การประยุกต์ Bench-Marking ไปใช้
การประยุกต์ Bench-marking ไปใช้ คืออะไร? การประยุกต์ Bench-marking ไปใช้ คือการนำเครื่องมือเทคนิคที่ได้จากการอบรมเรือง Bench-marking มาใช้ในการทำงาน เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ ตรงกับเป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้ ซึ่งในการทำ Bench-marking ที่ดี ต้องมีขั้นตอนอย่างมืออาชีพ...
ขั้นตอนการทำ Bench-marking อย่างมืออาชีพ
Bench-marking คืออะไร? "การประยุกต์ Bench-Marking ไปใช้ คือ การนำกระบวนการจัดทำ Bench-marking ที่ได้รับความรู้มา เพื่อนำไปใช้ในการจัดทำ Bench-marking ภายในองค์กร ทำให้พนักงานทุกคน มีเครื่องมือในการจัดทำ Bench-marking ได้ตรงกับเป้าหมายที่องค์กรต้องการ" ขั้นตอนการทำ...
ต้นทุน ขยับสูงขึ้น…ทำอย่างไร? ให้ธุรกิจอยู่รอด
ต้นทุน ขยับสูงขึ้น...ทำอย่างไร? ให้ธุรกิจอยู่รอด เป็นที่ทราบกันดีว่าในสภาวการณ์ปัจจุบันนี้ ต้นทุนของสินค้าต่างขยับขึ้นเป็นอันมาก ไม่ว่าจะเป็นค่าน้ำมันขึ้นราคา ค่าแรงเพิ่ม ซึ่งเป็นเหตุให้ต้นทุนของสินค้า...
เทคนิคการนำเสนอให้ดี ก็ไม่พอ ถ้าต้องการขายให้ได้
เทคนิคการนำเสนอ ให้ดี ก็ไม่พอ ถ้าต้องการขายให้ได้ ในการขายนั้นบ่อยครั้งที่นักขายจะเจอเหตุการณ์เช่นนี้คือ ลูกค้าบอกให้ไปนำเสนอขาย พนักงานขาย ก็นำ เทคนิคการนำเสนอ มากมาย แต่ทำไมเมื่อนำเสนอสินค้าแล้วลูกค้าไม่ซื้อ บางครั้งทำให้รู้สึกเสียกำลังใจเหมือนกัน ทำให้เบื่อ ๆ...
ลูกค้าทำท่าว่าสั่งปริมาณมาก เพื่อเจรจาต่อรองราคา แต่สั่งซื้อน้อย..!
ลูกค้าทำท่าว่าสั่งปริมาณมาก เพื่อเจรจาต่อรองราคา แต่สั่งซื้อน้อย..! ในการขายนั้นบางครั้งต้องขายผ่านตัวแทนจำหน่าย ซึ่งตัวแทนจำหน่ายชอบใช้ปริมาณการสั่งซื้อเพื่อมาต่อรองด้านราคา หรือบางครั้งก็ใช้ราคาคู่แข่งมาอ้างอิงเพื่อต่อราคา โดยใช้ราคาที่ต่ำมาก กับปริมาณการสั่งซื้อ...
เพิ่มผลงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ..ในเวลาที่จำกัด..
เพิ่มผลงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ..ในเวลาที่จำกัด.. มีคำพูดยอดนิยมของคนทำงานที่มักพูดกันบ่อย ๆ ว่า “ทำงานไม่ทัน” ซึ่งหมายถึงไม่สามารถทำงานให้เสร็จได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ พอถูกถาม ก็มีเหตุผลมากมายที่จะอธิบายถึงสาเหตุว่าตนเองนั้นทำงานไม่ทันและเป็นเช่นนี้ทุกเดือน...
เทคนิคการขายแบบ B2B
เทคนิคการขายแบบ B2B มีนักขายหลายคนต้องขายสินค้าเพื่อให้ผู้อื่นนำไปขายต่อ ที่เรียกว่า เป็นตัวแทนจำหน่าย(ยี่ปั้ว ซาปั้ว) หรือที่ในปัจจุบัน จะเรียกว่า เป็นการขายในลักษณะ B2B ซึ่งก็ย่อมาจากคำว่า Business to Business คือเป็นการติดต่อระหว่งธุรกิจกับธุรกิจ...
The Super Manager
How to improve your organization productivities? (8 Modules of the Principle of Management) หมายเหตุ: หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ประยุกต์มาจากหลักสูตรการบริหารจัดการ (Management Program) จาก The Japan Industrial Training (JITA) และ The Oversea Human Resource and...
Miller Heiman
Miller Heiman Miller Heiman: Strategic Selling® Program กลยุทธ์การขายแบบองค์รวมเพื่อชัยชนะในการขายที่ซับซ้อน (Complex Sales) การขายเชิงกลยุทธ์ ® ทำให้เห็นภาพการขายที่ชัดเจนในทุกโอกาสของการขายด้วยเครื่องมือของโปรแกรมเพื่อใช้ในการวางแผน ที่เรียกว่า บลูชีท (Blue...
กลยุทธ์สุดท้ายของการเจรจาต่อรองแบบ Negotiation Strategy for Win-Win
กลยุทธ์สุดท้ายของการเจรจาต่อรองแบบ Negotiation Strategy for Win-Win โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย ผู้อำนวยการหลักสูตรNegotiation Strategy for Win-Win: StepPlus ความจริงเกี่ยวกับการเจรจาต่อรองที่ว่า..คนส่วนใหญ่ “ยอมแพ้” ทั้งที่ “ยังไม่เริ่มต้น” แล้วคุณล่ะ?...
Public Training
Hello world!
Welcome to WordPress. This is your first post. Edit or delete it, then start blogging!