การประยุกต์ Bench-marking ไปใช้ คืออะไร?
การประยุกต์ Bench-marking ไปใช้ คือการนำเครื่องมือเทคนิคที่ได้จากการอบรมเรือง Bench-marking มาใช้ในการทำงาน เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ ตรงกับเป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้ ซึ่งในการทำ Bench-marking ที่ดี ต้องมีขั้นตอนอย่างมืออาชีพ ทำให้ได้ผลลัพธ์ในการทำที่ดีกว่า
การประยุกต์ Bench-Marking ไปใช้
ดร.กฤษฎา ตันเปาว์
กลยุทธ์ที่นักการตลาด (Marketer) ควรนำ Benchmarking ไปใช้ เพราะ ขั้นตอนการทำ Bench-marking ทำให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งผู้บริหารต่างนำ Benchmark ที่เราได้เพื่อไปเปรียบเทียบดังนี้
1.กลยุทธ์การเปรียบเทียบแผนประจำปี (Planning Strategy)
เปรียบเทียบการวางแผนงาน กิจกรรม น้ำหนักงาน ในแต่ละช่วงของปี หรือตามทิศทางที่มีผลต่อยอดขาย ส่วนแบ่งตลาด และที่ตลาดยอมรับได้ดี ซึ่งได้ ประโยชน์จาก Bench-marking นั่นเอง
2.กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ (Product Strategy)
การเปรียบเทียบคุณสมบัติ รูปแบบ รูปลักษณ์ วิธีการใช้งาน วัสดุ องค์ประกอบ การบริการ การซ่อมบำรุง การรับประกัน เป็นต้น เพื่อข้อเด่น จุดดี มาปรับใช้ในผลิตภัณฑ์ของเรา
3.กลยุทธ์ด้านราคา (Price Strategy)
การวิเคราะห์ความแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับราคา การหาความต่างด้านต้นทุน และราคาที่เกี่ยวข้อง เช่น ขนส่ง ราคาขายผ่านตัวกลาง โครงสร้างราคาขาย เพื่อนำมาปรับใช้ให้เกิดข้อได้เปรียบ
4.กลยุทธ์ด้านช่องทางการจำหน่าย (Distribution Strategy)
การพิจารณาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดจำหน่าย เช่น ลักษณะคนกลางแบบต่างๆ การขายผ่านเครื่องอัตโนมัติ การขายผ่านระบบ online เป็นต้น ที่เหมาะสมกับลูกค้า ที่มีประสิทธิภาพที่สุดในตลาด
5.กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategy)
การเปรียบเทียบว่ากลยุทธ์ใดของการส่งเสริมการตลาดที่เหมาะสมในเครื่องมือสื่อสารต่างๆ ได้แก่ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการขาย และ รูปแบบพนักงานขาย ผู้ที่ทำการส่งเสริมการขายที่มีประสิทธิภาพ ตลาดยอมรับ และยอดขายสูงทำอย่างไร เพื่อนำมาวิเคราะห์ ดึงจุดเด่น เทคนิคที่ดี เพื่อมาปรับใช้ต่อไป
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Benchmarking เป็น มาตรฐานขององค์กร เป็นเทคนิคพื้นฐาน ที่นักการตลาดสามารถนำไปใช้ได้ ในการทำงานจริง เพื่อการปิดจุดอ่อน และสร้างจุดแข็งเพิ่ม ในแง่มุมต่างๆ ได้ และสร้างเสริมความสำเร็จได้อย่างรูปธรรม
องค์กรของคุณ ต้องการ Bench-marking หรือไม่?
มีหลายองค์กร ตั้งข้อสงสัยว่า องค์กรที่ตนทำงานอยูจำเป็นต้องมีการจัดทำ Bench-marking สำหรับ ธุรกิจ หรือไม่ และเมื่อไหร่จึงต้องการ Bench-marking
เมื่อไรก็ตาม ที่คุณทำธุรกิจ แล้วไม่มั่นใจว่าสิ่งที่ทำ มีประโยชน์ หรือมีสิ่งที่ตรงกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ จำเป็นต้องการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่ากระบวนการเฉพาะในบริษัท สามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งได้ ถ้าเปรียบเทียบกับองค์กรอื่น ๆ
องค์กรบางแห่งใช้เกณฑ์ มาตรฐานที่มาจาก Bench-marking เป็นวิธีการปรับปรุงความสามารถทางธุรกิจ
เพื่อใช้ในการติดตามกลยุทธ์และแนวทางการเปลี่ยนแปลงของคู่แข่ง การปลูกฝังการมีมุมมองแบบ Bench-marking หรือมุมมองภายนอกเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและคู่แข่ง ถือเป็นส่วนสำคัญของแนวทางการจัดการที่มีประสิทธิภาพในโลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยไม่คำนึงถึงแรงจูงใจ มาออกแบบ ขั้นตอนการทำ Bench-marking
เหตุใดเกณฑ์มาตรฐานบริษัทของคุณควรเป็นเกณฑ์มาตรฐาน?
มีตัวขับเคลื่อนหลักหลายประการในการริเริ่มการเปรียบเทียบในบริษัท
ปัจจัยขับเคลื่อพบบ่อยที่สุดสำหรับการเปรียบเทียบมาตรฐานมาจากมุมมองภายในที่ว่ากระบวนการหรือแนวทางสามารถปรับปรุงได้ องค์กรจะรวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติงานของตนเอง ณ จุดต่างๆ ในเวลาและภายใต้สถานการณ์ที่แตกต่างกัน และระบุช่องว่างหรือพื้นที่สำหรับการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
องค์กรหลายแห่งมีการทำ Bench-marking เพื่อเปรียบเทียบตนเองกับคู่แข่งเพื่อพยายามระบุและขจัดช่องว่างในการให้บริการหรือการส่งมอบผลิตภัณฑ์ หรือเพื่อให้ได้เปรียบทางการแข่งขัน
ข้อมูลที่รวบรวมในโครงการริเริ่มการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการแข่งขันนำเสนอข้อมูลเชิงลึกเฉพาะเกี่ยวกับกระบวนการและความคิดของคู่แข่ง
คำว่า “การเปรียบเทียบเชิงกลยุทธ์” ใช้เพื่ออธิบายเมื่อบริษัทสนใจที่จะเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของตนกับผลการดำเนินงานที่ดีที่สุดในระดับเดียวกัน หรือสิ่งที่ถือว่าเป็นผลการดำเนินงานระดับโลก กระบวนการนี้มักจะเกี่ยวข้องกับการมองข้ามอุตสาหกรรมหลักของบริษัทไปยังบริษัทที่ทราบกันดีว่าประสบความสำเร็จในหน้าที่หรือกระบวนการเฉพาะ
บทความน่าอ่านเพิ่มเติม
อบรมวิทยากร ปัญหาของวิทยากรหรือผู้เรียน
บ่อยครั้งที่ได้รับคำตอบจากผู้สอน ว่าผู้เรียนไม่ตั้งใจเรียนผู้เรียนเป็นหัวดื้อ รั้นก็ขอให้กลับมาทบทวนใหม่ว่าแท้ที่จริงปัญหานั้นมาจากผู้เรียนหรือผู้สอนกันแน่ เมื่อไรก็ตามที่ ผู้สอน มักคิดว่า ผู้เรียนเป็นปัญหา...
วิทยากรมืออาชีพ งานของวิทยากร
วิทยากร ก็คือ ผู้สอน หน้าที่คือสอน ให้ความรู้ ซึ่งก็ไม่ผิดอะไร แต่อาชีพวิทยา มีภารกิจอื่น ๆ อีก 5 ภารกิจหลักของคนทำอาชีพวิทยากร งานของวิทยากร..วิทยากรมืออาชีพมีคนหลายคนอยากทำ อาชีพวิทยกร...
หลักสูตรการเป็นวิทยากร ความมั่นใจในตนเอง
วิทยากรที่ดี ไม่มีสิทธิปฏิเสธผู้เรียน ...
Train The Trainer การสร้างเสียงหัวเราะให้ผู้เรียน
ความรับผิดชอบของวิทยากร ที่จะต้องทำให้คนเรียนสนใจ เมื่อคนเรียน หัวเราะ ช่วงเวลาของการเรียนรู้จะสั้นลงทันที เมื่อเวลาสอน ผ่านไปช้ามาก..[เคล็ดลับการสอน]..การเป็นวิทยากรมืออาชีพบ่อยครั้งที่คุณได้ได้ยินว่า...
วิธีการเป็นวิทยากร ความจำเป็นในการใช้วิทยากร
มีหลายองค์กรอาจตั้งคำถามเช่นนี้ การใช้วิทยากรมีความจำเป็นหรือไม่ บริษัทคุณให้ความสำคัญในการพัฒนาทีมงาน และเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานเพียงใด ☝️เมื่อไร บริษัทคุณ จำเป็นต้องใช้วิทยากร..เทคนิคการเป็นวิทยากรมีหลายองค์กรอาจตั้งคำถามเช่นนี้...
อบรมวิทยากร หน้าที่หลักของวิทยากร
หัวใจการเป็นวิทยากร หน้าที่หลักของวิทยากร ขึ้นอยู่กับว่า ตัววิทยากรนั้นจะหนักแน่นเพียงใด ที่จะเดินเคียงข้างไปกับผู้เรียน บนเส้นทางที่ถูกต้อง เทคนิคการเป็นวิทยากร สำรวจว่าคุณพร้อมที่จะเป็นวิทยากรหรือไม่?..ลองสำรวจว่า...
เทคนิคการเป็นวิทยากร การสร้างความสนใจให้ผู้เรียน
การสอนที่ดี" ของวิทยากรมืออาชีพ คือ การเข้าใจถึงความต้องการการเรียนรู้ที่แท้จริงของผู้เรียน ที่เรียกว่า ความสนใจของผู้เรียน เทคนิคการเป็นวิทยากร เป็นความเข้าใจผิดของวิทยากร ครูหรืออาจารย์จำนวนไม่น้อย ที่คิดว่าตนเองมีความรู้มาก...
เทคนิคการเป็นวิทยากร : คุณสมบัติการเป็นวิทยากร
คุณสมบัติการเป็นวิทยากร จะบ่งบอกว่าคุณมีความพร้อม ที่จะเป็นวิทยากรหรือไม่ ไม่ใช่ว่า ยืนขึ้นแล้วสอนเท่านั้น คุณลักษณะการเป็นวิทยากร 8 ประการ - Train The Trainer"เทคนิคการเป็นวิทยากร" ของวิทยากรมืออาชีพ ที่หลายคน อาจทำอาชีพสอน...
Train The Trainer : วิทยากร 3 ระดับ
การวัดประผลการสอนของวิทยากร ไม่ใช่เป็นการวัดผลว่า.. วิทยาการได้สอนแล้ว แต่ต้องถามผู้เรียนว่าคิดอย่างไร ในหลักสูตร การเป็นวิทยากรมืออาชีพ หรือ Train The Trainer มักกล่าวไว้เสมอว่า ผลลัพธ์ จากการ สอนหรืออบรมสัมมนา...
Train The Trainer : เทคนิคการสอนงานผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ดังนั้น วิทยากร หรือ ผู้สอนงาน จำเป็น ที่จะต้องเข้าใจกระบวนการ และ เทคนิคการสอนงานผู้ใหญ่ เมื่อวิทยากร หรือ ผู้สอนงาน ถูกวางตัวให้ไปสอนผู้ใหญ่ หัวดื้อ รั้น ไม่ฟัง แต่เมื่อ วิทยากร ถูกวางตัวให้ไปสอน ก็ต้องทำ...
พฤติกรรมอะไร เมื่อ “ผู้จัดการ” ถูกมองว่า..ยอดแย่
“เราก็ว่า เราบริหารงานได้ดี” เสียงดังมาแต่ไกล เป็นคำพูดที่ ผู้จัดการหลายคนมักใช้มองตัวเอง แบบเข้าข้าง เพราะคนรอบข้างต่างหากที่จะตัดสินว่า คุณเป็นผู้จัดการที่ดีหรือไม่ เมื่อคนรอบข้ากำลังประเมินการทำงานของผู้จัดการว่าเป็นผู้จัดการที่ดี หรือ...
ขึ้นทะเบียน ‘หมา-แมว’
ส่อง ตัวเลข ผลจาก กม. ขึ้นทะเบียน ‘หมา-แมว’ “รัฐบาล” ขึ้นทะเบียน – วันที่ 11 ต.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลังจากเมื่อวันที่ 10 ต.ค. คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …....
วิศวกรฝ่ายขาย ทำงานอย่างไร
วิศวกรฝ่ายขาย ทำงานอย่างไร ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย มีวิศวกรหลายคน ปฏิเสธการทำงานในฝ่ายขาย พอพูดถึงการเป็นวิศวกรฝ่ายขาย (Sale Engineer) บางคนถึงกับไม่ชอบ ไม่ต้องการ และปฏิเสธตั้งแต่เริ่มต้น ไม่พิจารณาหางานที่เป็นฝ่ายขาย...
9 เทคนิค เปิดร้าน 20 บาท ให้รวย
9 เทคนิค เปิดร้าน 20 บาท ให้รวย เรื่องจริงของ "ลุงเริ่มต้นทำธุรกิจ" เรื่องนี้เป็นเรื่องจริงของชายคนหนึ่ง อายุราว 50 ต้น ๆ ตัดสินใจลาออกจากงานประจำ มาเปิดร้าน 20 บาท เลี้ยงตัวเองและครอบครัว...
บทเรียนจากถ้ำหลวงนางนอนสู่ผู้บริหารองค์กร
บทเรียน ช่วย 13 นักฟุตบอลทีมหมูป่า ของท่านผู้ว่าฯ เชียงราย ถึง ผู้บริหารองค์กรทุกองค์กร เป็นเรื่องที่ใครไม่กล่าวขวัญคงเป็นไปไม่ได้ ในกรณีภารกิจค้นหา 13 นักฟุตบอลทีมหมูป่า ติดถ้ำหลวง ขุนน้ำนางนอน จังหวัดเชียงราย เป็นเรื่องที่คนไทยทั้งประเทศให้ความสนใจ...
10 พฤติกรรม ที่จะบ่งบอกว่าคุณมีจิตใจที่เข้มแข็งหรือไม่?
10 พฤติกรรม ที่จะบ่งบอกว่าคุณมีจิตใจที่เข้มแข็งหรือไม่? ในชีวิตประจำวันที่คุณกำลังดำเนินชีวิตอยู่นี้ บางวันคุณอาจรู้สึกสดชื่นมีกำลังใจแต่บางวันคุณจะรู้สึกถึงความอ่อนล้าหรืออ่อนแรง คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าจิตใจของคุณกำลังอยู่ในอารมณ์ไหน...
ใครผิด ใครถูก ใครได้ ใครเสีย
ใครผิด ใครถูก ใครได้ ใครเสีย ในเรื่องของความผิดหรือถูกระหว่างนักขายกับลูกค้า อยากจะนำมาเขียนเพื่อจะทำความเข้าใจโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในงานขาย คำถามในทำนอง ใครคือคนผิด คือใครผิดหรือใครถูก จึงอยากให้มองลึกลงไปอีกว่า ใครได้...
มีคนชวนให้ทำงานขายประกันชีวิตเต็มเวลา เสี่ยงหรือไม่
มีคนชวนให้ทำงานขายประกันชีวิตเต็มเวลา เสี่ยงหรือไม่ ควรที่จะทำงานขายประกันในรูปแบบไหนถึงจะดี เช่นขายแบบเต็มเวลา (Full Time)...
เข้าใจพฤติกรรมนักขาย ขายให้ได้ ขายดีให้ดี ทำอย่างไร?
เข้าใจพฤติกรรมนักขาย ขายให้ได้ ขายดีให้ดี ทำอย่างไร? หลายสิบปีก่อน มีละครโทรทัศน์เรื่องหนึ่ง ชื่อเรื่องว่า “อวสานของเซลแมน” ซึ่งแปลมาจาก หนังสือภาษาอังกฤษที่ชื่อว่า “The death of Salesman” ถ้าจำผิดพลาดไปบ้างต้องขออภัย เพราะเวลานานมาก...
ขายให้ทัน ขยันมองเวลาให้ดี มียอดขายเพิ่มขึ้น
ขายให้ทัน ขยันมองเวลาให้ดี มียอดขายเพิ่มขึ้น พนักงานขายส่วนใหญ่ทำงานไม่ทัน หมายถึงไม่สามารถไปเยี่ยมลูกค้าได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ พอถูกถาม ก็มีเหตุผลมากมายที่จะอธิบายถึงสาเหตุว่าตนเองนั้นทำงานไม่ทัน และเป็นอย่างนั้นทุกเดือน...