การประยุกต์ Bench-marking ไปใช้ คืออะไร?
การประยุกต์ Bench-marking ไปใช้ คือการนำเครื่องมือเทคนิคที่ได้จากการอบรมเรือง Bench-marking มาใช้ในการทำงาน เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ ตรงกับเป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้ ซึ่งในการทำ Bench-marking ที่ดี ต้องมีขั้นตอนอย่างมืออาชีพ ทำให้ได้ผลลัพธ์ในการทำที่ดีกว่า
การประยุกต์ Bench-Marking ไปใช้
ดร.กฤษฎา ตันเปาว์
กลยุทธ์ที่นักการตลาด (Marketer) ควรนำ Benchmarking ไปใช้ เพราะ ขั้นตอนการทำ Bench-marking ทำให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งผู้บริหารต่างนำ Benchmark ที่เราได้เพื่อไปเปรียบเทียบดังนี้
1.กลยุทธ์การเปรียบเทียบแผนประจำปี (Planning Strategy)
เปรียบเทียบการวางแผนงาน กิจกรรม น้ำหนักงาน ในแต่ละช่วงของปี หรือตามทิศทางที่มีผลต่อยอดขาย ส่วนแบ่งตลาด และที่ตลาดยอมรับได้ดี ซึ่งได้ ประโยชน์จาก Bench-marking นั่นเอง
2.กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ (Product Strategy)
การเปรียบเทียบคุณสมบัติ รูปแบบ รูปลักษณ์ วิธีการใช้งาน วัสดุ องค์ประกอบ การบริการ การซ่อมบำรุง การรับประกัน เป็นต้น เพื่อข้อเด่น จุดดี มาปรับใช้ในผลิตภัณฑ์ของเรา
3.กลยุทธ์ด้านราคา (Price Strategy)
การวิเคราะห์ความแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับราคา การหาความต่างด้านต้นทุน และราคาที่เกี่ยวข้อง เช่น ขนส่ง ราคาขายผ่านตัวกลาง โครงสร้างราคาขาย เพื่อนำมาปรับใช้ให้เกิดข้อได้เปรียบ
4.กลยุทธ์ด้านช่องทางการจำหน่าย (Distribution Strategy)
การพิจารณาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดจำหน่าย เช่น ลักษณะคนกลางแบบต่างๆ การขายผ่านเครื่องอัตโนมัติ การขายผ่านระบบ online เป็นต้น ที่เหมาะสมกับลูกค้า ที่มีประสิทธิภาพที่สุดในตลาด
5.กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategy)
การเปรียบเทียบว่ากลยุทธ์ใดของการส่งเสริมการตลาดที่เหมาะสมในเครื่องมือสื่อสารต่างๆ ได้แก่ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการขาย และ รูปแบบพนักงานขาย ผู้ที่ทำการส่งเสริมการขายที่มีประสิทธิภาพ ตลาดยอมรับ และยอดขายสูงทำอย่างไร เพื่อนำมาวิเคราะห์ ดึงจุดเด่น เทคนิคที่ดี เพื่อมาปรับใช้ต่อไป
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Benchmarking เป็น มาตรฐานขององค์กร เป็นเทคนิคพื้นฐาน ที่นักการตลาดสามารถนำไปใช้ได้ ในการทำงานจริง เพื่อการปิดจุดอ่อน และสร้างจุดแข็งเพิ่ม ในแง่มุมต่างๆ ได้ และสร้างเสริมความสำเร็จได้อย่างรูปธรรม
องค์กรของคุณ ต้องการ Bench-marking หรือไม่?
มีหลายองค์กร ตั้งข้อสงสัยว่า องค์กรที่ตนทำงานอยูจำเป็นต้องมีการจัดทำ Bench-marking สำหรับ ธุรกิจ หรือไม่ และเมื่อไหร่จึงต้องการ Bench-marking
เมื่อไรก็ตาม ที่คุณทำธุรกิจ แล้วไม่มั่นใจว่าสิ่งที่ทำ มีประโยชน์ หรือมีสิ่งที่ตรงกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ จำเป็นต้องการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่ากระบวนการเฉพาะในบริษัท สามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งได้ ถ้าเปรียบเทียบกับองค์กรอื่น ๆ
องค์กรบางแห่งใช้เกณฑ์ มาตรฐานที่มาจาก Bench-marking เป็นวิธีการปรับปรุงความสามารถทางธุรกิจ
เพื่อใช้ในการติดตามกลยุทธ์และแนวทางการเปลี่ยนแปลงของคู่แข่ง การปลูกฝังการมีมุมมองแบบ Bench-marking หรือมุมมองภายนอกเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและคู่แข่ง ถือเป็นส่วนสำคัญของแนวทางการจัดการที่มีประสิทธิภาพในโลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยไม่คำนึงถึงแรงจูงใจ มาออกแบบ ขั้นตอนการทำ Bench-marking
เหตุใดเกณฑ์มาตรฐานบริษัทของคุณควรเป็นเกณฑ์มาตรฐาน?
มีตัวขับเคลื่อนหลักหลายประการในการริเริ่มการเปรียบเทียบในบริษัท
ปัจจัยขับเคลื่อพบบ่อยที่สุดสำหรับการเปรียบเทียบมาตรฐานมาจากมุมมองภายในที่ว่ากระบวนการหรือแนวทางสามารถปรับปรุงได้ องค์กรจะรวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติงานของตนเอง ณ จุดต่างๆ ในเวลาและภายใต้สถานการณ์ที่แตกต่างกัน และระบุช่องว่างหรือพื้นที่สำหรับการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
องค์กรหลายแห่งมีการทำ Bench-marking เพื่อเปรียบเทียบตนเองกับคู่แข่งเพื่อพยายามระบุและขจัดช่องว่างในการให้บริการหรือการส่งมอบผลิตภัณฑ์ หรือเพื่อให้ได้เปรียบทางการแข่งขัน
ข้อมูลที่รวบรวมในโครงการริเริ่มการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการแข่งขันนำเสนอข้อมูลเชิงลึกเฉพาะเกี่ยวกับกระบวนการและความคิดของคู่แข่ง
คำว่า “การเปรียบเทียบเชิงกลยุทธ์” ใช้เพื่ออธิบายเมื่อบริษัทสนใจที่จะเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของตนกับผลการดำเนินงานที่ดีที่สุดในระดับเดียวกัน หรือสิ่งที่ถือว่าเป็นผลการดำเนินงานระดับโลก กระบวนการนี้มักจะเกี่ยวข้องกับการมองข้ามอุตสาหกรรมหลักของบริษัทไปยังบริษัทที่ทราบกันดีว่าประสบความสำเร็จในหน้าที่หรือกระบวนการเฉพาะ
บทความน่าอ่านเพิ่มเติม
เรียนรู้ความสำเร็จในการขาย เพื่อความสำเร็จของตนเอง
เรียนรู้ความสำเร็จในการขาย เพื่อความสำเร็จของตนเอง โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย เป็นที่แน่ชัดว่าคนส่วนใหญ่อยากประสบความสำเร็จ บางคนไปเรียนหลักสูตรการขาย เข้าอบรมในหลักสูตรอบรมมากมาย ความสำเร็จในการขายที่กล่าวไว้ในหลักสูตรการขายชั้นนำต่าง ๆ...
เทคนิคการขายกับ 4 แนวคิดที่นักขายรุ่นใหม่ต้องรู้
เทคนิคการขายกับ 4 แนวคิดที่นักขายรุ่นใหม่ต้องรู้ โดย ศ.ดร.อุทิส ศิริวรรณ และ ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย แนวคิดของเทคนิคการขายที่นักขายต้องรู้และเข้าใจ ซึ่งในหลักสูตรการขายในปัจจุบันนั้นอาจจะไม่ได้พูดถึงแนวคิดเช่นนี้ที่นักขายพึงจะต้องมี...
หลักสูตรการขาย ตอนเจรจาต่อรอง
หลักสูตรการขาย ตอน "เทคนิคการเจรจาต่อรอง" โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจที่นักขายหลายคนเข้า "อบรมหลักสูตรการขาย" แต่ยังไม่สามารถเจรจาต่อรองและปิดการขายได้ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะมีนักขายหลายคนนั้นกลัวการเจรจาต่อรอง...
ผู้จัดการหรือผู้บริหาร ทำอย่างไร เมื่อผลประเมินพนักงานต่ำ
ผู้จัดการหรือผู้บริหารจะแก้ไขอย่างไร เมื่อผลประเมินพนักงานต่ำกว่าเกณฑ์ โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย มีผู้จัดการหรือผู้บริหารจำนวนไม่น้อยที่พอถึงเทศกาลการประเมินผลงานพนักงาน ก็จะออกอาการทำอย่างไรดี ไม่ใช่เรื่องการประเมิน...
เทคนิคการขาย:ใครผิด ใครถูก ใครได้ ใครเสีย
ใครผิด ใครถูก ใครได้ ใครเสีย โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย มีนักขายหลายคน เข้าอบรมหลักสูตรการขายหลายครั้งมักมีข้อสงสัยในเรื่องของความผิดหรือถูกระหว่างนักขายกับลูกค้า ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ จึงอยากจะนำมาเขียนเพื่อจะทำความเข้าใจโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในงานขาย ในคำถามถามในทำนอง...
จัดการอย่างไร เมื่อผู้บริหารหรือผู้จัดการไม่ชอบพัฒนาตนเอง
จัดการอย่างไร เมื่อผู้บริหารหรือผู้จัดการไม่ชอบพัฒนาตนเอง? stepplus training.com เป็นเรื่องที่หน้าประหลาดใจที่ปัจจุบันมีหลักสูตรผู้บริหารหรือหลักสูตรผู้จัดการดี ๆ มากมายแต่ผู้จัดการกลับไม่ชอบที่จะเข้าร่วมหรือพัฒนาตนเอง...
ขั้นตอนการทำ Bench-marking อย่างมืออาชีพ
Bench-marking คืออะไร? "การประยุกต์ Bench-Marking ไปใช้ คือ การนำกระบวนการจัดทำ Bench-marking ที่ได้รับความรู้มา เพื่อนำไปใช้ในการจัดทำ Bench-marking ภายในองค์กร ทำให้พนักงานทุกคน มีเครื่องมือในการจัดทำ Bench-marking ได้ตรงกับเป้าหมายที่องค์กรต้องการ" ขั้นตอนการทำ...
Strategic Benchmarking for Marketer
กลยุทธ์ทาง Bench-Marking สำหรับนักการตลาด คืออะไร? กลยุทธ์ทาง Bench-Marking สำหรับนักการตลาด คือ แนวทางการนำกลยุทธ์ ทาง Bench-Marking มาใช้เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางกลยุทธ์ ทางการตลาด ทำให้ความแตกต่างระหว่างตนเอง กับคู่แข่งได้ชัดเจนการจัดทำกลยุทธ์ทาง Bench-Marking...
ต้นทุน ขยับสูงขึ้น…ทำอย่างไร? ให้ธุรกิจอยู่รอด
ต้นทุน ขยับสูงขึ้น...ทำอย่างไร? ให้ธุรกิจอยู่รอด เป็นที่ทราบกันดีว่าในสภาวการณ์ปัจจุบันนี้ ต้นทุนของสินค้าต่างขยับขึ้นเป็นอันมาก ไม่ว่าจะเป็นค่าน้ำมันขึ้นราคา ค่าแรงเพิ่ม ซึ่งเป็นเหตุให้ต้นทุนของสินค้า...
เทคนิคการนำเสนอให้ดี ก็ไม่พอ ถ้าต้องการขายให้ได้
เทคนิคการนำเสนอ ให้ดี ก็ไม่พอ ถ้าต้องการขายให้ได้ ในการขายนั้นบ่อยครั้งที่นักขายจะเจอเหตุการณ์เช่นนี้คือ ลูกค้าบอกให้ไปนำเสนอขาย พนักงานขาย ก็นำ เทคนิคการนำเสนอ มากมาย แต่ทำไมเมื่อนำเสนอสินค้าแล้วลูกค้าไม่ซื้อ บางครั้งทำให้รู้สึกเสียกำลังใจเหมือนกัน ทำให้เบื่อ ๆ...
ลูกค้าทำท่าว่าสั่งปริมาณมาก เพื่อเจรจาต่อรองราคา แต่สั่งซื้อน้อย..!
ลูกค้าทำท่าว่าสั่งปริมาณมาก เพื่อเจรจาต่อรองราคา แต่สั่งซื้อน้อย..! ในการขายนั้นบางครั้งต้องขายผ่านตัวแทนจำหน่าย ซึ่งตัวแทนจำหน่ายชอบใช้ปริมาณการสั่งซื้อเพื่อมาต่อรองด้านราคา หรือบางครั้งก็ใช้ราคาคู่แข่งมาอ้างอิงเพื่อต่อราคา โดยใช้ราคาที่ต่ำมาก กับปริมาณการสั่งซื้อ...
เพิ่มผลงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ..ในเวลาที่จำกัด..
เพิ่มผลงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ..ในเวลาที่จำกัด.. มีคำพูดยอดนิยมของคนทำงานที่มักพูดกันบ่อย ๆ ว่า “ทำงานไม่ทัน” ซึ่งหมายถึงไม่สามารถทำงานให้เสร็จได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ พอถูกถาม ก็มีเหตุผลมากมายที่จะอธิบายถึงสาเหตุว่าตนเองนั้นทำงานไม่ทันและเป็นเช่นนี้ทุกเดือน...
เทคนิคการขายแบบ B2B
เทคนิคการขายแบบ B2B มีนักขายหลายคนต้องขายสินค้าเพื่อให้ผู้อื่นนำไปขายต่อ ที่เรียกว่า เป็นตัวแทนจำหน่าย(ยี่ปั้ว ซาปั้ว) หรือที่ในปัจจุบัน จะเรียกว่า เป็นการขายในลักษณะ B2B ซึ่งก็ย่อมาจากคำว่า Business to Business คือเป็นการติดต่อระหว่งธุรกิจกับธุรกิจ...
The Super Manager
How to improve your organization productivities? (8 Modules of the Principle of Management) หมายเหตุ: หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ประยุกต์มาจากหลักสูตรการบริหารจัดการ (Management Program) จาก The Japan Industrial Training (JITA) และ The Oversea Human Resource and...
Miller Heiman
Miller Heiman Miller Heiman: Strategic Selling® Program กลยุทธ์การขายแบบองค์รวมเพื่อชัยชนะในการขายที่ซับซ้อน (Complex Sales) การขายเชิงกลยุทธ์ ® ทำให้เห็นภาพการขายที่ชัดเจนในทุกโอกาสของการขายด้วยเครื่องมือของโปรแกรมเพื่อใช้ในการวางแผน ที่เรียกว่า บลูชีท (Blue...
กลยุทธ์สุดท้ายของการเจรจาต่อรองแบบ Negotiation Strategy for Win-Win
กลยุทธ์สุดท้ายของการเจรจาต่อรองแบบ Negotiation Strategy for Win-Win โดย ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย ผู้อำนวยการหลักสูตรNegotiation Strategy for Win-Win: StepPlus ความจริงเกี่ยวกับการเจรจาต่อรองที่ว่า..คนส่วนใหญ่ “ยอมแพ้” ทั้งที่ “ยังไม่เริ่มต้น” แล้วคุณล่ะ?...
Public Training
Hello world!
Welcome to WordPress. This is your first post. Edit or delete it, then start blogging!